• คลังความรู้
  • /
  • Way Forward
  • /
  • Way Forward 2021 ครั้งที่ 8 “รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน อนาคตของการเชื่อมโยงภูมิภาคที่ยั่งยืน”

Way Forward 2021 ครั้งที่ 8 “รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน อนาคตของการเชื่อมโยงภูมิภาคที่ยั่งยืน”

1. รายชื่อมหาวิทยาลัย / สถาบันการอาชีวศึกษาด้านระบบรางในจีน

(การเรียงลำดับไม่ได้เกี่ยวข้องกับการจัดลำดับของสถาบัน)

1.1 รายชื่อมหาวิทยาลัย

1.2 รายชื่อสถาบันการอาชีวศึกษา

2. ทุนการศึกษาการเรียนต่อด้านระบบรางในจีน

2.1 ระดับมหาวิทยาลัย

1) ดาวน์โหลดข้อมูลทุนการศึกษาในประเทศจีนได้ที่ https://www.stsbeijing.org/contents/2316
2) ความร่วมมือของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่กับมหาวิทยาลัย Central South University คณะวิศวกรรมโยธา

2.2 ระดับสถาบันการอาชีวศึกษา

1) โครงการเพื่อยกระดับคุณภาพหลักสูตรอาชีวศึกษาตามนโยบายรัฐ หรือ “อาชีวะพรีเมียม”
สาขาระบบขนส่งทางราง เป็นหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เรียน 3 ปี เปิดสอนใน 4 วิทยาลัย ได้แก่

  1. วิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่
  2. วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี
  3. วิทยาลัยเทคนิควาปีปทุม
  4. วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี

โดยมีกลุ่มวิทยาลัยคู่ความร่วมมือ ประกอบด้วย

  1. วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาการรถไฟหวู่ฮั่น
  2. วิทยาลัยอาชีวศึกษาการรถไฟเทียนจิน
  3. วิทยาลัยเทคนิคการรถไฟความเร็วสูงหูหนาน
  4. วิทยาลัยการคมนาคมขนส่งสาธารณะฉงชิ่ง

2) ศูนย์เทคโนโลยีและนวัตกรรมลูปัน (วิทยาลัยเทคนิคและอาชีวศึกษาการรถไฟเทียนจิน)
วิทยาลัยที่เปิดสอนระบบขนส่งทางราง ลงนามความร่วมมือกับวิทยาลัยเทคนิคและอาชีวศึกษา การรถไฟเทียนจิน ในวาระนี้ ได้แก่

  1. วิทยาลัยเทคนิคเกาะคา
  2. วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่
  3. วิทยาลัยเทคนิควาปีปทุม
  4. วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี
  5. วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี
  6. วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
  7. วิทยาลัยเทคนิคพระนครศรีอยุธยา
  8. วิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่

3) วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาการรถไฟหวู่ฮั่น
วิทยาลัยอาชีวศึกษาของรัฐที่เปิดสอนระบบขนส่งทางรางหลักสูตร 3 ปี ภายใต้ความร่วมมือกับวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาการรถไฟหวู่ฮั่น สาธารณรัฐประชาชนจีน

  1. วิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่
  2. วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี
  3. วิทยาลัยเทคนิควาปีปทุม
  4. วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี

วันเสาร์ที่ 5 มิถุนายน 2564
14.00 – 16.00 น. (ไทย)
15.00 – 17.00 น. (จีน)

แขกรับเชิญ
ดร. อาณัติ หาทรัพย์
ผู้อำนวยการศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง (ศทร.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

รศ.ดร. พีรพงศ์ จิตเสงี่ยม
หัวหน้าศูนย์วิศวกรรมโยธาและฐานรากระบบรางขั้นสูง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พารวย ศุภศิริ
ผู้ประสานงานโครงการระบบราง Luban workshop (วิทยาลัยเทคนิคอยุธยา – วิทยาลัยเทคนิครถไฟฟ้าเทียนจิน)

อนุภัทร ทิพย์รัตน์
นักศึกษาสาขาระบบซ่อมบำรุงรถไฟความเร็วสูง Tianjin Railway Vocational and Technical College

ผู้ดำเนินรายการ
วัชรินทร์ เศรษฐกุดั่น
หัวหน้ากองข่าวต่างประเทศ ช่อง 9 MCOT HD 30 สำนักข่าวไทย

อัพเดทล่าสุด

Facebook

ติดตามเราบน Facebook

Youtube

ติดตามเราบน Youtube

ฝ่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เลขที่ 21 ถนนกวงหวา เขตฉาวหยาง กรุงปักกิ่ง 100600 สาธารณรัฐประชาชนจีน อีเมล : [email protected]

© 2020-2024 Science and Technology Section, Royal Thai Embassy in Beijing Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation, 21 Guanghua Road, Chaoyang District, Beijing 100600 P.R.C. E-mail: [email protected]